วันพฤหัสบดีที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

งานวิจัยการท่องเที่ยวในจังหวัดสุพรรณบุรีและจังหวัดกาญจนบุรี

การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยงหมู่บ้านตะเพินคี่
ที่เป็นผลจากการส่งเสริมการท่องเที่ยวจังหวัดเชิงเกษตร สุพรรณบุรี
Ò. วิถีชีวิตของชุมชนกะเหรี่ยง       หมู่บ้านตะเพินคี่       
Ò บ้านตะเพินคี่ ตั้งอยู่ที่หมู่ที่ 5 ตำบลวังยาว อำเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี ระยะทางห่างจากตัวจังหวัดสุพรรณบุรี ประมาณ 180 กิโลเมตร อยู่ห่างจากตัวอำเภอด่านช้าง ประมาณ 90 กิโลเมตร มีจำนวนครัวเรือน 43 ครัวเรือน
  การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมของชุมชนกะเหรี่ยงหมู่บ้าน 
ตะเพินคี่ ที่มีผลมาจากการส่งเสริมการท่องเที่ยว
2.1 การเปลี่ยนแปลงด้านเศรษฐกิจ พบว่า มีการเปลี่ยนแปลงน้อยมากในระบบเศรษฐกิจของคนในชุมชน
  2.1.1
รายได้จากการบริการที่พัก ชาวกะหรี่ยงที่หมู่บ้านตะเพินคี่ ไม่มีรายได้จากการเข้าไปพักค้างของนักท่องเที่ยว เนื่องจากนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่จะนำเต็นท์ไปเอง

การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพพบว่าสารสกัดใบรางจืดส่วนช่วยให้
ผู้ป่วยที่ได้รับสารพาราควอทรอดชีวิตได้มากขึ้น

Òสารสกัดใบรางจืดส่วนช่วยให้ผู้ป่วยที่ได้รับสารพาราควาอทรอดชีวิตได้มากขึ้น  พบว่าสารสกัดใบรางจืด สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อแบคทีเรีย Aerobacter aerogens ได้ ในขณะที่ Kongyingyos และคณะ (1990) ใช้น้ำสกัดใบรางจืดยับยั้งการเจริญของไวรัส hepes simplex type 1 และChanawirat(2000) ใช้สารสกัดจากใบรางจืดลดพิษต่อตับของอัลกอฮอล์ในหนูถีบจักรได้

การท่องเที่ยวปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการท่องเที่ยว
ของนักท่องเที่ยวชาว
ไทยกรณีศึกษาเชิงวิถีชีวิต : บึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ
 จังหวัดสุพรรณบุรี 
นักท่องเที่ยวที่เดินทางไปเที่ยว บึงฉวากเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชาย โดยส่วนใหญ่มีอายุ 25 34 ปี จบการศึกษาสูงสุดในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. โดยมีอาชีพ นิสิต/นักศึกษา มีรายได้ครัวเรือนต่อเดือน ต่ำกว่า 10,000 บาท และมีภูมิลำเนาอยู่ ภาคกลาง
      การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ จ.กาญจนบุรีและสุพรรณบุรีงานวิจัย
มรดกโลกทุ่งนเรศวร
Òกาญจนบุรีเป็นจังหวัดที่สมบูรณ์ในด้านทรัพยากรการท่องเที่ยว มีแหล่งท่องเที่ยวธรรมชาติที่สวยงาม มีมรดกโลกทุ่งนเรศวรและมีแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญด้านประวัติศาสตร์ในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง แหล่งอารยะธรรม โบราณคดี ศิลปวัฒนธรรมและประเพณีท้องถิ่น สิ่งเหล่านี้ครบถ้วนสมบูรณ์ แต่ถ้าหากไม่มีการบริหารจัดการท่องเที่ยวที่ดีในระยะยาวอาจส่งผลกระทบให้เกิดความเสียหายต่อแหล่งท่องเที่ยวเหล่านี้
การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ จ.กาญจนบุรีและสุพรรณบุรี

บ้านควาย จ.สุพรรณบุรี
Òนักท่องเที่ยวส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 12-20 ปี โดยส่วนใหญ่มาเป็นสถาบันการศึกษา รองลงมาคือเดินทางมากับครอบครัว ส่วนใหญ่รับทราบข้อมูลจากการแนะนำของเพื่อน รองลงมาคืออินเตอร์เน็ต ส่วนใหญ่จะเป็นการศึกษาดูงาน ศึกษาวัฒนธรรมพื้นบ้าน
การท่องเที่ยวเชิงเศรษฐกิจ จ.กาญจนบุรีและสุพรรณบุรี 

การท่องเที่ยวแบบยั่งยืนของชุมชนบ้านพุเต

มูลค่าผลผลิตของสวนป่า เท่ากับ  396.21 ล้านบาท มูลค่าผลผลิตรอง เท่ากับ 1.15  ล้านบาท/ปี และมูลค่าการสะสมคาร์บอน เท่ากับ 132.01  ล้านบาท ส่วนจำนวนเงินเฉลี่ยของความเต็มใจที่จะบริจาคเพื่อสนับสนุนการอนุรักษ์สวนป่าทองผาภูมิ และ กิจกรรมการปลูกสร้างสวนป่าให้คง อยู่ต่อไปเท่ากับ 1,346.12  บาท/คน/ปี สำหรับปัจจัย ที่มีอิทธิพลต่อความเต็มใจที่จะบริจาคของกลุ่มประชากรในเขตเมืองประกอบด้วยอายุ
ตลาดสามชุก’’เป็นตลาดโบราณของ จ.สุพรรณบุรี ที่มีการเติบโตมากว่า 100 ปี ซึ่งในอดีตมีความสำคัญเป็นอย่างมากทั้งในด้านคมนาคมและการนำรายได้เข้าสู่จังหวัด
ทัศนคติของนักท่องเที่ยวที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ กรณีศึกษาอุทยานแห่งชาติ ในจังหวัดกาญจนบุรี
สถาบันสุวรรณภูมิ (SUVARNABHUMI INSTITUTE) หรือ สุวรรณภูมิศึกษา (SUVARNABHUMI STUDY)โดยมีขอบเขตเริ่มแรก อยู่บริเวณเมืองอู่ทอง อ. อู่ทอง จ. สุพรรณบุรี   
  นักท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติของจังหวัดกาญจนบุรี ที่มีต่อการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ โดยศึกษาตัวแปร ภูมิลำเนา เพศ อายุ สถานภาพสมรส การศึกษา อาชีพ รายได้ การ ได้รับข้อมูลข่าวสาร จำนวนครั้งของการท่องเที่ยวต่อปี ประสบการณ์การมีส่วนร่วมด้าน สิ่งแวดล้อม ลักษณะการท่องเที่ยว และความรู้เกี่ยวกับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติเอราวัณ อุทยานแห่งชาติไทรโยก อุทยานแห่งชาติเฉลิมรัตนโกสินทร์ อุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์ อุทยานแห่งชาติ
การวิจัยท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์สุวรรณภูมิที่สุพรรณบุรี
Òเมืองอู่ทอง เป็นศูนย์กลางพุทธศาสนาเก่าสุดในสุวรรณภูมิ เพราะบริเวณอื่นๆในอาคเนย์ยังไม่พบหลักฐานเกี่ยวกับพุทธศาสนาเก่ากว่าเมืองอู่ทอง จึงควรผลักดันให้มีการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์รัฐบาลไทยศึกษาค้นคว้าวิจัยแลกเปลี่ยนแบ่งปันเผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับดินแดนและผู้คนสุวรรณภูมิ มีผู้เสนอให้เลือก 2 ชื่อ สถาบันสุวรรณภูมิ (SUVARNABHUMI INSTITUTE) หรือ สุวรรณภูมิศึกษา (SUVARNABHUMI STUDY)โดยมีขอบเขตเริ่มแรก
การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรน้ำของชุมชนชาวแพ บริเวณรอยต่อแม่น้ำแควใหญ่ แควน้อยและแม่กลอง จังหวัดกาญจนบุรี 

การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรน้ำของชุมชนชาวแพบริเวณรอยต่อแม่น้ำแควใหญ่  แควน้อยและแม่กลอง จังหวัดกาญจนบุรี  การดำเนินการวิจัย เป็นการวิจัยเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วม (Participatory Action Research - PAR) ในพื้นที่บริเวณท่าน้ำหน้าเมืองกาญจนบุรี  ตำบลปากแพรก อำเภอเมืองจังหวัดกาญจนบุรี    ซึ่งเป็นรอยต่อระหว่างแม่น้ำแควใหญ่  แควน้อย และแม่กลอง 
การวิจัยการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม สุพรรณบุรี-กาญจนบุรี 
Òตลาดสามชุกยังคงอบอวลไปด้วยบรรยากาศเก่าๆ ของอาคารร้านค้า 300-400 ร้าน ริมแม่น้ำท่าจีน โดยยังคงมีสถาปัตยกรรมแบบเดิมเป็นห้องแถวไม้สองชั้นขนาดใหญ่ นอกจากนี้ภายในอาคารยังมีข้าวของเครื่องใช้ในอดีตมากมายที่ส่วนใหญ่ยังคงใช้การได้ 
การท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติความสามารถในการรองรับได้ของพื้นที่ อุทยานแห่งชาติเอราวัณ
Òเส้นทางศึกษาธรรมชาติเอราวัณ (ป่าไผ่) และแหล่งท่องเที่ยวประเภทประวัติศาสตร์และอารยธรรมของมนุษย์อุทยานแห่งชาติเอราวัณ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่จังหวัดกาญจนบุรี มีพื้นที่ครอบคลุมประมาณ 549.98 ตารางกิโลเมตร หรือ 343,735 ไร่ (รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน  อุทยานแห่งชาติเอราวัณ, 2548)อยู่ห่างจากตัวเมืองกาญจนบุรีประมาณ 70 กิโลเมตร ลักษณะของพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นภูเขาสูงชันสลับกับพื้นที่ราบเป็นแห่งๆ ภูเขาส่วนใหญ่เป็นภูเขาหินปูนในยุคหินปูนไทรโยค


การพัฒนาศักยภาพการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่เน้นเฉพาะปาจังหวัด  กาญจนบุรี

Òผู้ประกอบการสปาได้มาขอขึ้นทะเบียนเป็นสถานบริการด้านสปาจำนวนมากและอยู่ระหว่างการตรวจสอบมาตรฐานสถานประกอบการสปา   ปัญหาอุปสรรคของสปาคือ จำนวนบุคลากรที่ทำการตรวจสอบมาตรฐานมรจำนวนไม่เพียงพอ   ขาดดุลการค้ากับต่างประเทศ







ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น